diff --git a/asset-manifest.json b/asset-manifest.json index 8f40b02..e61a716 100644 --- a/asset-manifest.json +++ b/asset-manifest.json @@ -1,16 +1,16 @@ { "files": { - "main.css": "/cons60-web/static/css/main.c7065a6a.css", - "main.js": "/cons60-web/static/js/main.8fcca7ae.js", - "static/js/787.a808ef9d.chunk.js": "/cons60-web/static/js/787.a808ef9d.chunk.js", + "main.css": "/cons60-web/static/css/main.dcb1e098.css", + "main.js": "/cons60-web/static/js/main.21a3a157.js", + "static/js/453.fa8d255f.chunk.js": "/cons60-web/static/js/453.fa8d255f.chunk.js", "static/media/mainmenu.png": "/cons60-web/static/media/mainmenu.7fd6f4c4aac35b35aea1.png", "index.html": "/cons60-web/index.html", - "main.c7065a6a.css.map": "/cons60-web/static/css/main.c7065a6a.css.map", - "main.8fcca7ae.js.map": "/cons60-web/static/js/main.8fcca7ae.js.map", - "787.a808ef9d.chunk.js.map": "/cons60-web/static/js/787.a808ef9d.chunk.js.map" + "main.dcb1e098.css.map": "/cons60-web/static/css/main.dcb1e098.css.map", + "main.21a3a157.js.map": "/cons60-web/static/js/main.21a3a157.js.map", + "453.fa8d255f.chunk.js.map": "/cons60-web/static/js/453.fa8d255f.chunk.js.map" }, "entrypoints": [ - "static/css/main.c7065a6a.css", - "static/js/main.8fcca7ae.js" + "static/css/main.dcb1e098.css", + "static/js/main.21a3a157.js" ] } \ No newline at end of file diff --git a/index.html b/index.html index 2231a70..7bbe564 100644 --- a/index.html +++ b/index.html @@ -1 +1 @@ -
{name}
: null}\n\n \tรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติถึงสิทธิเสรีภาพของประชาชน และสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน \n\tและการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น \n\tอันจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขให้เป็นไปในทิศทางที่เหมาะสม \n\tการพัฒนาประเทศจะเกิดประสิทธิภาพประชาชนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในทุกระดับ และสอดคล้องกับยุคดิจิทัลที่หน่วยงานต้องนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความทันสมัย\n\tและพัฒนาไปอย่างไม่หยุดยั้งมาสร้างบริการดิจิทัลที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้บริการ
\n\t\t \n\t\tหอสมุดรัฐสภา สำนักวิชาการ ตระหนักถึงการเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศที่สะดวก รวดเร็วของสมาชิกรัฐสภาและผู้ใช้บริการในยุคดิจิทัล \n\tจึงมีแนวคิดยกระดับของการให้บริการสารสนเทศภายในหอสมุดรัฐสภาให้สามารถเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศเพื่อใช้ประโยชน์ในการพิจารณารัฐธรรมนูญ\n\tและร่างพระราชบัญญัติต่าง ๆ ซึ่งเป็นภารกิจโดยตรงของรัฐสภาในการทำหน้าที่ตรากฎหมายของประเทศ ให้มีความสะดวก รวดเร็ว ตรงต่อความต้องการ \n\tโดยสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ ทุกเวลา และทุกอุปกรณ์
\t\n\t\t \n\t\tหอสมุดรัฐสภาจึงได้ริเริ่มโครงการอาสาสมัครหอสมุดรัฐสภา โดยดำเนินการกิจกรรมที่ 1 คือ กิจกรรม “Hack เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ 2560” \n\tและจัดทำเว็บไซต์เปรียบเทียบบทบัญญัติและเจตนารมณ์การร่างรัฐธรรมนูญ เพื่อเหนี่ยวนำทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง (Stakeholders) มาร่วมกันออกแบบนวัตกรรมใหม่ \n\tที่ขจัดปัญหาอุปสรรคด้านเวลา สถานที่ และวิธีการในการเข้าถึงบันทึกการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ 2560 โดยนำแนวคิด Hackathon เข้ามาใช้ เปิดโอกาสให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร \n\tภาคประชาชนและกลุ่มนักออกแบบที่สนใจเข้ามามีส่วนร่วมในการเสนอความต้องการ ร่วมออกแบบ ร่วมขับเคลื่อน และร่วมกันจัดทำเครื่องมือสืบค้น (Search Engine) \n\tออกมาเป็นเว็บไซต์บันทึกการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ 2560 ที่สามารถสืบค้นเปรียบเทียบตัวบทของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 \n\tกับร่างรัฐธรรมนูญที่มีการเสนอและแก้ไขเพิ่มเติม ตั้งแต่เริ่มประชุมครั้งแรกจนเสร็จสิ้นการร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 279 มาตรา ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ศึกษาได้เรียนรู้ความมุ่งหมายของผู้ร่างรัฐธรรมนูญ \n\tและเส้นทางของการร่างรัฐธรรมนูญแต่ละมาตรา อันจะนำไปสู่การสืบค้นเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญด้วยตนเอง สมาชิกรัฐสภา ข้าราชการ และบุคคลในวงงานรัฐสภา \n\tสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการศึกษาเพื่อการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต่อไป
\n\t\n\t\tโครงการอาสาสมัครหอสมุดรัฐสภา กิจกรรม Hack เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ 2560 ถือเป็นประวัติศาสตร์ครั้งแรกของหอสมุดรัฐสภา ที่ได้สร้างอาสาสมัคร รุ่นที่ 1 \n\tที่มีจิตสาธารณะ มีความตั้งใจเข้าร่วม Hack บันทึกการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ 2560 จากตัวเล่มให้เป็นดิจิทัลทั้งหมด และจัดทำเครื่องมือช่วยค้นให้สามารถสืบค้นได้ทั้งจากมาตรา \n\tชื่อผู้อภิปราย และจากถ้อยคำที่มีอยู่ในบันทึกการประชุม สามารถแสดงผลเชื่อมโยงมาตราที่เกี่ยวข้อง สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแก้ไขเพิ่มเติมแต่ละหมวด \n\tแต่ละมาตราตั้งแต่ครั้งแรกที่ประชุมจนออกมาเป็นร่างที่พร้อมจะประกาศเป็นกฎหมาย โดยใช้เวลาดำเนินการโครงการตั้งแต่วันที่ 25 กันยายน 2566 ถึงวันที่ 15 มีนาคม 2567 รวมทั้งสิ้น 173 วัน \n
\n หอสมุดรัฐสภาขอยกย่องในความมีจิตสาธารณะ ความตั้งใจ และความเสียสละของอาสาสมัครหอสมุดรัฐสภา จำนวน 30 คน ดังรายนามต่อไปนี้
\n\t\t1. นายกิตติ์ธเนศ ฤทธิพรพสิษฐ์
\t\n\t\t2. นางสาวเมธิรา เกษมสันต์
\t\n\t\t3. นายธนากรณ์ อินทร
\t\t\n\t\t4. นายกฤตภาส ธิติวิเชียรเลิศ
\t\n\t\t5. นายสถาพร วิญญุนาวรรณ
\t\n\t\t6. นายณัฐพจน์ อัฒนวานิช
\t\n\t\t7. นายธนกร กิจสาระภักดี
\t\n\t\t8. นางสาวยิหวา อาทรทีป
\t\n\t\t9. นายเอกภพ สิทธิวรรณธนะ
\t\n\t\t10. นายโชคชัย แจ้งจิต
\t\t\n\t\t11. นางอักษิกา จันทรวินิจ
\n\t\t12. นางสาวเบญจรัตน์ สัจกุล
\n\t\t13. นางสาวสุพัชชา แก้วไชยษา
\n\t\t14. นางสาวสิริลักษณ์ บุตรศรีทัศน์
\n\t\t15. นางสาวปาณิสรา ศรีประทุม
\n\t\t16. นายนันทวัฒน์ ศักดิ์สกุลคุณากร
\n\t\t17. นายธีรัตม์ พณิชอุดมพัชร์
\n\t\t18. นายปภาวิชญ์ ศรีบริสุทธิ์
\n\t\t19. นายทัตธนนันต์ นวลมณี
\n\t\t20. นายอนุรัฐ เอี่ยมโภคลาภ
\n\t\t21. นางสาวชนิตา หัวเขา
\n\t\t22. นางสาวประภาวดี เอกวงศ์
\n\t\t23. นางสาวจิรารัตน์ จันทรัตน์
\n\t\t24. นายณรงศ์ศักย์ เหล่ารัตนเวช
\n\t\t25. นางสาวเมธาวี ศิริตรัย
\n\t\t26. นางสาวปารณีย์ จิรัสย์จินดา
\n\t\t27. นางสาวฐิติพร สุดใจ
\n\t\t28. นายภูริช สีนวลแล
\n\t\t29. นายธนดล เดชประภากร
\n\t\t30. นายธรรมทัศน์ ธรรมปัญญาวัฒน์
\n\t\t \n\tหอสมุดรัฐสภา สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ขอขอบคุณทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้บริหารสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร \n\tที่ได้ส่งเสริมการจัดโครงการ ตลอดจนเป็นที่ปรึกษาให้คำแนะนำตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ ขอขอบคุณคณะทำงานตรวจสอบการนำเข้าข้อมูลเว็บไซต์เปรียบเทียบบทบัญญัติและเจตนารมณ์การร่างรัฐธรรมนูญ 2560 \n\tในโครงการอาสาสมัครหอสมุดรัฐสภากิจกรรม Hack เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ 2560 ของสำนักวิชาการ ที่ได้กำหนดหลักเกณฑ์และร่วมกันตรวจสอบข้อมูลบันทึกการประชุมคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญในเว็บไซต์ให้ถูกต้องตรงกับต้นฉบับ \n\tขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
\n\t\n\t\t\t\t\t\t\t\tหอสมุดรัฐสภา
\n\t\t\t\t\t\t\t 15 มีนาคม 2567\n
\n มาตรา ๒๕ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย\n นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้\n เป็นการเฉพาะในรัฐธรรมนูญแล้วการใดที่มิได้ห้ามหรือจํากัดไว้ในรัฐธรรมนูญ\n หรือในกฎหมายอื่นบุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพที่จะทําการนั้นได\n และได้รับ\n ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญตราบเท่าที่การใช้สิทธิหรือเสรีภาพเช่นว่านั้น\n ไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ\n ความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน\n และไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น\n สิทธิหรือเสรีภาพใดที่รัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ\n หรือให้\n เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติแม้ยังไม่มีการตรากฎหมายนั้นขึ้นใช้บังคับบุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้ตาม\n เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญบุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ\n สามารถยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพหรือจากการกระทําความผิดอาญาของบุคคลอื่น\n ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐตามที่กฎหมายบัญญัติ\n
\n